รัฐประหารพม่ายังร้อนระอุ วันเดียวตาย 38 ศพ March 4, 2021 รัฐประหารเมียนม่ายังคงน่าเป็นห่วง เมื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจสลายการชุมนุมด้วยกระสุนจริง แก๊สน้ำตา และระเบิดควัน ควบคู่ไปกับการใช้ปืนฉีดน้ำแรงดันสูง โดยแทบไม่มีการเตือนล่วงหน้า ทำให้มีคนเสียชีวิต 38 ราย และผู้ได้รับบาดเจ็บอีกเป็นจำนวนมาก สำนักข่าว บีบีซี รายงานว่า ในวันพุธที่ 3 มี.ค. 2564
ม็อบในพม่า หนักหนาสาหัส ตำรวจใช้กระสุนจริงยิงผู้ชุมนุมในหลายเมืองใหญ่ วันเดียวเสียชีวิตสลดอย่างน้อย 7 บาดเจ็บหลายราย March 1, 2021 ม๊อบพม่า เจอเรื่องสาหัส ตำรวจปราบจลาจลใช้กระสุนจริงยิงสลายม็อบต้านรัฐประหารที่มีการชุมนุมประท้วงกันในเมืองใหญ่หลายเมืองของประเทศ ทั้งย่างกุ้ง มัณฑะเลย์ และทวาย เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตเพิ่มเป็นอย่างน้อย 7 ศพแล้วภายในวันเดียว และมีผู้บาดเจ็บอีกหลายคน เมื่อ 28 ก.พ. 2564 สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานว่า
นักศึกษานครปฐมถูกปาระเบิดใส่หลังกลับจากม็อบหน้าเรือนจำ October 26, 2020 เมื่อวันที่ 25 ต.ค. 2563 มีสมาชิกเฟซบุ๊กรายหนึ่งได้โพสต์ภาพ นักศึกษาสาวและกลุ่มอาชีวะ ถูกกลุ่มวัยรุ่นลอบปาระเบิดที่จังหวัดนครปฐมจนได้รับบาดเจ็บ 2 ราย โดยข้อความได้ระบุไว้ว่า เมื่อช่วงเช้ามืด เวลาประมาณ 03:00 น. ของวันที่ 25 ตุลาคม ที่ผ่านมา น้องนักศึกษาได้มาม็อบ ร่วมชุมนุมที่ หน้าเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ และกลับบ้านที่นครปฐม
รามคำแหงฯ ออกแถลงการณ์แจง 6 ข้อ ถึงการใช้ความรุนแรงในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัย October 23, 2020 เมื่อวันที่ 22 ต.ค.63 มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้ออกแถลงการณ์ เรื่องการใช้ความรุนแรงในพื้นที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง โดยระบุ “กรณีเหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก เมื่อเวลาประมาณ 17.30 น. เศษ ของวันที่ 21 ต.ค.63 นั้น มหาวิทยาลัยขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้ง
ติดตามสถานการณ์การชุมนุมบริเวณห้าแยกลาดพร้าว-อุดมสุข-วงเวียนใหญ่ October 17, 2020 17 ต.ค. 2563 เมื่อเวลา 15.00 น. ม็อบคณะราษฎรได้นัดร่วมตัวกัน 3 จุดหลักตามสถานีรถไฟฟ้า จุดที่ 1 ห้าแยกลาดพร้าว จุดที่ 2 สถานีรถไฟฟ้าอุดมสุข จุดที่ 3 วงเวียนใหญ่ ซึ่งแต่ละจุดมีผู้คนมารวมตัวกันอย่างเนืองแน่น การชุมนุมในวันนี้จะสามารถชุมนุมได้ถึงแค่ 20.00 น. เท่านั้น ทั้งนี้หากได้ยินเสียงพลุดังขึ้นให้รีบสลายตัวทันที
BTS-MRT ประกาศปิดการเดินรถ October 17, 2020 เมื่อวันที่ 17 ต.ค. 2563 จากความเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ชุมนุมที่พากันออกมาขับไล่ นายกรัฐมนตรี (พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ให้ออกจากตำแหน่ง ในหลายพื้นที่ทั่วกรุงเทพมหานคร ทำให้รถไฟฟ้า BTS-MRT ประกาศงดให้บริการทุกสถานีเป็นการชั่วคราว โดยให้เหตุผลว่ามีความจำเป็นที่จะต้องปิดเพื่อความปลอดภัยโดยรวมของผู้โดยสาร รถไฟฟ้าบีทีเอส
เจ้าหน้าที่สกัดเส้นทางการชุมนุม October 16, 2020 วันที่ 16 ต.ค. 2563 เจ้าหน้าที่ตำรวจควบคุมฝูงชนได้เข้าปิดพื้นที่โดยรวบแยกราชประสงค์ซึ่งเป็นจุดที่ผู้ชุมนุมจะจัดชุมนุมเป็นครั้งที่ 2 ในช่วงเย็นวันนี้ เวลา 17.00 น. โดยเจ้าหน้าที่ได้ปิดการจราจร 3 จุด จุดที่1 ถนนราชดำริ ตั้งแต่แยกราชดำริถึงแยกประตูน้ำ จุดที่ 2 ถนนเพลินจิตตั้งแต่แยกชิดลมถึงแยกราชประสงค์ จุดที่ 3 ถนนพระราม 1
ประกาศ 4 ข้อห้ามในสถานการณฉุกเฉิน October 15, 2020 วันที่ 15 ต.ค.63 มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตอนพิเศษ เรื่องข้อกำหนด ออกตามความในมาตรา ๙ ประกอบมาตรา ๑๑ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร ลงวันที่ 15 ต.ค.2563 นั้น
ม็อบปลดแอกชุมนุม ตั้งเวทีปิดราชดำเนิน 3 หัวโจก “อานนท์-ไมค์-เพนกวิน” ขณะที่ผู้ชุมนุมเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีลาออก August 16, 2020 ผู้สื่อข่าวรายงานว่าการชุมนุมของกลุ่มประชาชนปลดแอก “ขีดเส้นตายไล่เผด็จการ” ตั้งแต่เวลาประมาณ 14.40 น. กลุ่มผู้ชุมนุมเริ่มลงปักหลักบนถนนราชดำเนินกลาง พร้อมตั้งเวทีปราศรัย หันหลังให้กับอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย บริเวณฝั่งร้านแมคโดนัล โดยมีการปิดการจราจรถนนราชดำเนินนอกตั้งแต่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยไปจนถึงแยกคอกวัว